ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2563
เป็นสถาบันชั้นนำที่สามารถตอบสนองความต้องการของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วทางด้านการศึกษา การวิจัย และการสร้างนวัตกรรม ทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลระดับสากล
ชื่อหลักสูตร | วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (นานาชาติ) |
ที่อยู่ | คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 |
ติดต่อ
|
Tel: +66 02 441-0909 / Fax. +66 02 441-0808
E-mail: ict@mahidol.ac.th Website: http://www.ict.mahidol.ac.th |
ปีที่ก่อตั้ง | ปี 2552 จัดตั้งเป็น “คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร”
(กำเนิดจากภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้คณะวิทยาศาสตร์ และสำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 2531) |
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา | วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) |
ภาษาที่ใช้ | ภาษาอังกฤษ |
การรับเข้าศึกษา | รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่มีความรู้ภาษาอังกฤษในระดับดี |
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา
ระบบ
2 ภาคการศึกษา/ปี
ภาคฤดูร้อน
มีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน โดยขึ้นอยู่กับการพิจารณา และต้องได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
เมื่อรวมค่าหน่วยกิตและค่าธรรมเนียมการศึกษาแล้ว ประมาณ 77,000 บาท ต่อภาคการศึกษา
ระยะเวลาในการสำเร็จการศึกษา 4 ปีการศึกษาหรือน้อยกว่า และให้ศึกษาอย่างมากได้ไม่เกิน 8 ปีการศึกษา
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา |
|
จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ดังนี้
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป | ไม่น้อยกว่า | 30 หน่วยกิต |
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ | 8 หน่วยกิต | |
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ | 9 หน่วยกิต | |
กลุ่มวิชาภาษา | 12 หน่วยกิต | |
กลุ่มวิชาสุขภาพและนันทนาการ | 1 หน่วยกิต | |
2. หมวดวิชาเฉพาะ | ไม่น้อยกว่า | 93 หน่วยกิต |
กลุ่มวิชาแกน | 12 หน่วยกิต | |
กลุ่มวิชาบังคับ | 69 หน่วยกิต | |
กลุ่มวิชาเลือก | 12 หน่วยกิต | |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี | ไม่น้อยกว่า | 6 หน่วยกิต |
ภาคการศึกษา 1 | ภาคการศึกษา 2 | |||||||
ปีที่ 1 | วทชว | 109 | ชีววิทยาเชิงบูรณาการ | 3 | สมสค | 103 | มนุษย์และสังคม | 2 |
สมมน | 116 | วัฒนธรรมเปรียบเทียบ | 2 | วทคม | 100 | เคมีเชิงบูรณาการ | 3 | |
ทสคพ | 320 | โครงสร้างไม่ต่อเนื่อง | 3 | ทสคพ | 211 | ระบบดิจิตอลเบื้องต้น | 3 | |
ทสคพ | 175 | คณิตศาสตร์ชั้นสูง 1 สำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ | 3 | ทสคพ | 161 | วิทยาศาสตร์กายภาพกับการคำนวณ | 3 | |
ทสศท | 101 | เทคนิคการแก้ปัญหา | 2 | ทสคพ | 209 | การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ | 3 | |
ทสคพ | 201 | การเขียนโปรแกรมขั้นพื้นฐาน | 3 | ทสภษ | 201 | ทักษะการอ่าน | 2 | |
ทสภษ | 101 | ภาษาอังกฤษเชิงเทคนิค 1 | 2 | ทสคพ | 125 | สถิติประยุกต์สำหรับการคำนวณ | 3 | |
ทสศท | 141 | การถ่ายภาพดิจิตอล | 1 | |||||
รวม |
18 |
รวม | 20 |
ภาคการศึกษา 1 | ภาคการศึกษา 2 | |||||||
ปีที่ 2 | ทสภษ | 102 | ภาษาอังกฤษเชิงเทคนิค 2 | 2 | ทสภษ | 202 | การพูดในที่สาธารณะและการนำเสนอ | 2 |
ทสคพ | 306 | ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข | 3 | ทสคพ | 323 | การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ | 3 | |
ทสคร | 276 | การจัดการ | 2 | ทสคพ | 381 | ระบบสื่อหลายแบบขั้นแนะนำ | 3 | |
ทสคพ | 241 | ระบบการจัดการฐานข้อมูล | 3 | ทสคพ | 343 | หลักการของระบบปฏิบัติการ | 3 | |
ทสคพ | 222 | โครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | 3 | ทสคพ | 212 | การเขียนโปรแกรมเว็บ | 3 | |
ทสคพ | 231 | โครงสร้างข้อมูลและการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี | 3 | ทสศท | 301 | กลยุทธ์การสื่อสารในชีวิตมืออาชีพ | 2 | |
ทสคพ | 159 | ปฏิบัติการซอฟต์แวร์สำหรับการแก้ปัญหา พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ทสคพ | 335 | ระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ขั้นแนะนำ | 3 | |
รวม |
17 |
รวม | 19 |
ภาคการศึกษา 1 | ภาคการศึกษา 2 | |||||||
ปีที่ 3 | ทสภษ | 301 | การเขียนเชิงธุรกิจ | 2 | ทสภษ | 282 | การเขียนเชิงวิชาการ | 2 |
ทสคพ | 371 | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ขั้นแนะนำ | 3 | ทสคพ | 424 | การคำนวณแบบไร้สายและแบบเคลื่อนที่ | 3 | |
ทสคพ | 414 | การเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ | 3 | ทสคพ | 461 | ความมั่นคงของคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร | 3 | |
ทสคพ | 420 | เครือข่ายสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์ | 3 | ทสคพ | 336 | การต่อประสานคนกับเครื่อง | 3 | |
ทสคพ | 451 | ปัญญาประดิษฐ์ | 3 | ทสคพ | 391 | ปฏิบัติการระบบเครือข่าย | 1 | |
ทสคพ | 443 | ระบบเชิงกระจายและขนาน | 3 | ทสคพ | XXX | วิชาเลือกตามสาขาวิชา | 3 | |
ทสคพ | 361 | ระบบสารสนเทศการจัดการ | 3 | ทสคพ | XXX | วิชาเลือกตามสาขาวิชา | 3 | |
รวม |
20 |
รวม | 18 |
ภาคการศึกษา 1 | ภาคการศึกษา 2 | |||||||
ปีที่ 4 | ทสคพ | 402 | จริยธรรมทางคอมพิวเตอร์และธุรกิจ | 3 | ทสคพ | 492 | โครงงานวิจัยระดับปริญญาตรี 2 | 3 |
ทสคร | 277 | การตลาดดิจิตอล | 2 | ทสคพ | XXX | วิชาเลือกเสรี * | ||
ทสคพ | XXX | วิชาเลือกตามสาขาวิชา | 3 | |||||
ทสคพ | XXX | วิชาเลือกตามสาขาวิชา | 3 | |||||
ทสคพ | 499 | โครงงานวิจัยระดับปริญญาตรี 1 | 6 | |||||
รวม |
17 |
รวม | 3 |
* วิชาจากกลุ่มเลือกเสรีโดยเน้นการศึกษาเทคโนโลยีใหม่ที่สุด (Cutting-edge technology) จากคู่ความร่วมมือทั้งในและ นอกประเทศ
แนวปฏิบัติ ในการจัดการเรียนการสอน |
|
แนวปฏิบัติ ในการ ประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา |
|
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร (Program–Level Learning Outcomes: PLOs)
ผลลัพธ์การเรียนรู้เฉพาะกลุ่ม (Stream Learning Outcomes: SLOs)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ) มีสาขาวิชาต่างๆ รวม 8 สาขาวิชา ให้นักศึกษาเลือกเรียน ดังนี้
ศึกษาการใช้ทฤษฎีทางด้านคอมพิวเตอร์มาใช้แก้ปัญหาพื้นฐาน เรียนรู้ระบบที่เกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ เช่น กระบวนการแก้ปัญหาที่มีลำดับหรือวิธีการอย่างเป็นขั้นเป็นตอนชัดเจน (Algorithms Analysis), การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design), การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ขนาดจิ๋ว ที่ฝังไว้ในอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องเล่นอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มความฉลาดและความสามารถให้กับอุปกรณ์เหล่านั้น (Embedded System), การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพและสื่อ โดยใช้เทคนิคต่าง ๆ (Computer Graphics)
ศึกษาเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ที่สามารถพัฒนาต่อยอด เพื่อใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน เช่น ทฤษฎีการออกแบบระบบฐานข้อมูล (Database Design) คลังข้อมูลและการสืบค้นข้อมูล (Data Warehousing and Data Mining) การประมวลผลภาพดิจิทัล (Digital Image Processing) การจำแนกและประมวลผลสัญญาณ ปัญญาประดิษฐ์และสถิติ (Intelligent Techniques for Pattern Recognition) การจัดเก็บ การนำเสนอเนื้อหาและการวิเคราะห์จำแนก ว่าข้อมูลที่ปรากฏนั้นมีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่น ๆ ในแต่ละระดับอย่างไร (Semantic Web) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) รวมถึง เทคโนโลยีและแอปพลิเคชันสำหรับจัดการฐานข้อมูลขั้นสูง
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเครือข่ายสื่อสารซึ่งเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์ (Internet Architecture) การกำหนดฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร (Internet Protocols) การบริหารจัดการเครือข่าย (Network Management) การเขียนโปรแกรมจัดการเครือข่ายสื่อสาร (Network Programming) และการตรวจสอบพิสูจน์หลักฐานเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาคดีอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Forensic)
ศึกษาวิธีการควบคุมการพัฒนาซอฟต์แวร์ เทคนิคและแนวทางการบริหารจัดการ เพื่อให้สามารถพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน รวมถึงการตรวจสอบความถูกต้องของซอฟต์แวร์นั้น ๆ เพื่อวัดประสิทธิภาพ และคุณภาพของซอฟต์แวร์
ศึกษาทฤษฎี และวิธีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ (Computer Technology) มาใช้กับธุรกิจต่างๆ เพื่อการพัฒนาต่อยอดธุรกิจสู่โลกออนไลน์ ศึกษาเกี่ยวกับแบบจำลองทางธุรกิจ (E-Business Model) และประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง เช่น ระบบบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า (Customer Relationship Management) การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) และ การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในอุปกรณ์สื่อสาร (Mobile Application) การศึกษาเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเชิงธุรกิจ และการคิดกลยุทธ์ธุรกิจใหม่ๆ รวมไปถึง เทคโนโลยีสำหรับการรวบรวมข้อมูล จัดเก็บ วิเคราะห์ และการใช้ประโยชน์ข้อมูลในหลากหลายมุมมอง (Business Intelligent Systems)
ศึกษาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อใช้ในการสร้างระบบที่เกี่ยวข้องกับสื่อมัลติมีเดีย เช่น Computer Animation, Computer Graphic, Virtual Reality รวมไปถึงเรียนรู้การจัดการสื่อมัลติมีเดีย และการประยุกต์ใช้สื่อนั้นเพื่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการศึกษา ด้านการแพทย์ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านศิลปะและความบันเทิง
ศึกษาเกี่ยวกับการนำระบบสารสนเทศ (IT) มาใช้ในการบริหารจัดการ การแปลความหมายและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์กร โดยจะใช้ข้อมูลเป็นพื้นฐานที่สำคัญเพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ศึกษาเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) ไปใช้ในภาคธุรกิจสุขภาพ และสาธารณสุข เพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการ โดยจะศึกษาระบบที่ใช้ในและการบริหารจัดการระบบนั้นในองค์กร รวมถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทางการแพทย์ที่สำคัญ
หมายเหตุ: นักศึกษาจะสามารถเลือกสาขาวิชาได้ในภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศึกษาที่ 3