ปรัชญาการศึกษา
This curriculum focuses on producing graduates who have the knowledge and skills necessary to create and deploy disruptive technologies for solving complex scientific and business problems, develop knowledge and technology through research in the area of computer science, and integrate knowledge in computer science with other fields effectively for national development.
วิสัยทัศน์
เป็นสถาบันชั้นนำที่สามารถตอบสนองความต้องการของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วทางด้านการศึกษา การวิจัย และการสร้างนวัตกรรม ทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลระดับสากล
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.มีคุณธรรม จริยธรรม และมีพฤติกรรมที่เหมาะสม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
2.มีความรู้ความสามารถและเข้าใจหลักการและทฤษฎีด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
3.พัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และประยุกต์องค์ความรู้ พร้อมกับบูรณาการองค์ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์กับศาสตร์ด้านอื่นๆ เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพและมีประโยชน์ต่อสังคม
4.มีความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้การทำงานเป็นทีม เป็นได้ทั้งผู้นำและผู้ตาม และรู้จักสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
5.ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรวมทั้งสถิติตัวเลขได้อย่างเหมาะสมต่อการค้นคว้า พัฒนา และวิจัยทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้อย่างดี
ชื่อหลักสูตร |
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ |
ที่อยู่ | คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 |
ติดต่อ | Phone: +66 02 441-0909 / Fax. +66 02 441-0808 |
E-mail: ict@mahidol.ac.th | |
Website: http://www.ict.mahidol.ac.th | |
ปีที่ก่อตั้ง | 2537 |
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) วท.ม. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) |
ภาษาที่ใช้ | ภาษาอังกฤษ |
การรับเข้าศึกษา | รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่มีความรู้ภาษาอังกฤษในระดับดี |
สถานที่จัดการเรียนการสอน
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล (อาคารมิว ชั้น 23) ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
ระบบการจัดการศึกษา
ระบบจัดการเรียนการสอน
ระบบหน่วยกิต 2 ภาคการศึกษา
1 ปีการศึกษา ประกอบด้วย 2 ภาคการศึกษาปกติ ภาคละไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
ภาคฤดูร้อน
ไม่มีภาคฤดูร้อน
วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
ภาคต้น: สิงหาคม – ธันวาคม
ภาคปลาย: มกราคม – พฤษภาคม
ค่าเล่าเรียน
ปีการศึกษา |
ค่าธรรมเนียมการศึกษา |
ค่าใช้จ่าย (ตลอดหลักสูตร) |
|||
นักศึกษาต่างชาติ |
นักศึกษาไทย |
||||
บาท |
ดอลล่าร์สหรัฐฯ |
บาท |
ดอลล่าร์สหรัฐฯ |
||
2564 – 2566 |
Plan A (Thesis) แผน ก (วิทยานิพนธ์) |
489,000 |
14,900 |
299,000 |
9,100 |
Plan B (Thematic Paper) แผน ข (สารนิพนธ์) |
529,000 |
16,100 |
275,000 |
8,400 |
*อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ระยะเวลาการสำเร็จการศึกษา
ระยะเวลาในการสำเร็จการศึกษา: 2 ปี
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร: ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
แผน ก (วิทยานิพนธ์)
1. เวลารวมของการศึกษาไม่ควรเกินแผนการศึกษา
2. นักศึกษาจะต้องสำเร็จหลักสูตรตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร อย่างน้อย 24 หน่วยกิตไม่รวมวิทยานิพนธ์ (12 หน่วยกิต) รวม 36 หน่วยกิตโดยมี เกรดเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 3.00
3. นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดลตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดโดยมหาวิทยาลัยมหิดล
4. นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะโดยบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล
5. นักศึกษาจะต้องส่งวิทยานิพนธ์และผ่านการสอบวิทยานิพนธ์ตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยมหิดลว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและ สอบวิทยานิพนธ์เป็นแบบต่อหน้าสาธารณะ
6.วิทยานิพนธ์จะต้องตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติหรือตีพิมพ์ในวารสารของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล
แผน ข (วิทยานิพนธ์)
1. เวลารวมของการศึกษาไม่ควรเกินแผนการศึกษา
2. นักศึกษาจะต้องสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ระบุไว้ในหลักสูตรอย่างน้อย 30 หน่วยกิตไม่รวมวิชาเฉพาะ (6 หน่วยกิต) รวม 36 หน่วยกิตโดยมี เกรดเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 3.00
3. นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดลตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดโดยมหาวิทยาลัยมหิดล
4. นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะโดยบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล
5. นักศึกษาจะต้องสอบผ่านตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหิดลว่าด้วยบัณฑิตวิทยาลัย
6. นักศึกษาจะต้องเสนอและจัดทำเอกสารเฉพาะเรื่องและผ่านการสอบปากเปล่าที่จำเป็นสำหรับการสำเร็จการศึกษาตามระเบียบของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดลและการสอบปากเปล่าต่อหน้าสาธารณะชน
7. สารนิพนธ์จะต้องมีการเผยแพร่และค้นหาได้
โครงสร้างหลักสูตร
แผน | แผน ก (วิทยานิพนธ์) | แผน ข (สารนิพนธ์) |
1. หมวดวิชาบังคับ | 18 หน่วยกิต | 18 หน่วยกิต |
2. หมวดวิชาเลือก | 6 หน่วยกิต | 12 หน่วยกิต |
3. วิทยานิพนธ์ | 12 หน่วยกิต | – |
4. สารนิพนธ์ | – | 6 หน่วยกิต |
จำนวนทั้งหมดไม่น้อยกว่า | 36 หน่วยกิต | 36 หน่วยกิต |
แผนการศึกษา
Plan A (Thesis) | ||
1st Year, 1st Semester | ||
ITCS 509 | Research Methodology in Computer Science | 2 (2-0-4) |
ITCS 521 | Agile Software Product Management | 3 (3-0-6) |
ITCS 659 | Multimedia Technologies and Applications | 3 (3-0-6) |
ITCS 661 | Advanced Artificial Intelligence | 3 (3-0-6) |
1st Year, 2nd Semester | ||
ITCS 523 | Data Sciences Essentials | 3 (3-0-6) |
ITCS 522 | Edge Computing and Internet of Things | 3 (3-0-6) |
ITCS 603 | Seminar in Computer Science | 1 (1-0-2) |
ITCS XXX | Elective Courses not less than | 3 Credits |
2nd Year, 1st Semester | ||
ITCS XXX | Elective Courses not less than | 3 credits |
ITCS 698 | Thesis | 6 (0-18-0) |
2nd Year, 2nd Semester | ||
ITCS 698 | Thesis | 6 (0-18-0) |
Plan B (Thematic Paper) | ||
1st Year, 1st Semester | ||
ITCS 509 | Research Methodology in Computer Science | 2 (2-0-4) |
ITCS 521 | Agile Software Product Management | 3 (3-0-6) |
ITCS 659 | Multimedia Technologies and Applications | 3 (3-0-6) |
ITCS 661 | Advanced Artificial Intelligence | 3 (3-0-6) |
1st Year, 2nd Semester | ||
ITCS 523 | Data Sciences Essentials | 3 (3-0-6) |
ITCS 522 | Edge Computing and Internet of Things | 3 (3-0-6) |
ITCS 603 | Seminar in Computer Science | 1 (1-0-2) |
ITCS XXX | Elective Courses not less than | 3 Credits |
2nd Year, 1st Semester | ||
Comprehensive Examination | ||
ITCS XXX | Elective Courses not less than | 9 credits |
2nd Year, 2nd Semester | ||
ITCS 697 | Research Project in Computer Science | 6 (0-18-0) |
หมวดวิชาเลือก
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนหมวดวิชาต่าง ๆ ดังนี้
ทสคพ 503 การออกแบบและวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี
ทสคพ 504 สถาปัตยกรรมและการจัดระบบคอมพิวเตอร์
ทสคพ 507 พื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
ทสคพ 513 การจัดการโครงการ
ทสคพ 517 การเรียนรู้เชิงเครื่องจักร
ทสคพ 518 วิเคราะห์และความเข้าใจภาพ
ทสคพ 551 การคำนวณเชิงบริการและคลาวด์
ทสคพ 552 การคำนวณแบบเคลื่อนที่และทุกที่
ทสคพ 554 การจัดการความมั่นคงของสารสนเทศ
ทสคพ 612 การโปรแกรมเครือข่าย
ทสคพ 613 เครื่องมือและสภาพแวดล้อมสำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์
ทสคพ 615 วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงประจักษ์
ทสคพ 621 การออกแบบและการบริหารฐานข้อมูล
ทสคพ 628 เหมืองข้อมูลและการค้นพบความรู้
ทสคพ 631 เครือข่ายสื่อสารคอมพิวเตอร์
ทสคพ 643 วิศวกรรมซอฟต์แวร์
ทสคพ 644 การประกันคุณภาพซอฟต์แวร์
ทสคพ 655 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
หัวข้อวิจัย
Research Project (for Plan A(A2))
Research areas for conducting a thesis (Plan A) are as follows:
(1) Research project in intelligent systems
(2) Research project in data management systems
(3) Research project in internet of things
(4) Research project in communication and network systems
(5) Research project in security systems
(6) Research project in software engineering
(7) Research project in data science
(8) Research project in image and video processing
Students can choose to conduct research in other areas related to computer science given approval from academic advisor and program director.
Thematic Paper Project (for Plan B)
Areas of thematic paper project are as follows:
(1) Project in intelligent systems
(2) Project in data management systems
(3) Project in internet of things
(4) Project in communication network systems
(5) Project in security systems
(6) Project in software engineering
(7) Project in data science
(8) Project in image and video processing
Students can choose to conduct a project in other areas related to computer science if given approval from the academic advisor and program director.
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล
แนวปฏิบัติ ในการจัดการเรียนการสอน |
|
แนวปฏิบัติ ในการ ประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา |
|
ผลลัพธ์การเรียนรู้
- PLO1 Demonstrate the ability to follow appropriate ethical and professional codes of conduct in research and IT professional practice.
- PLO2 Demonstrate knowledge and capability in the theory and principles of computer science. Continue learning independently, expanding computer science knowledge through analysis and synthesis,and understanding new and disruptive technologies.
- PLO3 Analyze problems using logical reasoning based on computer science knowledge, synthesize and integrate knowledge in computer science and use research methodology for presenting and solving problems.
- PLO4 Demonstrate self-responsibility and teamwork skills with the ability to communicate and transfer knowledge effectively
- PLO5 Apply tools of information and communication technology, mathematics, and statistics to solve problems related to the field of study. Proficiently apply English skills for communication and presentation.
อาชีพที่สามารถประกอบได้
1. Computer and Information Technology Technical Officer
2. Software and System Developer
3. Information Technology Manager
4. Data Analyst and Data Scientist
5. Multimedia Developer
Download
สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ
นักศึกษาที่มีสิทธิ์สมัครหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
แผน ก (วิทยานิพนธ์)
1.Applicants should hold a Bachelor’s degree from an institute accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation, in either one of the following categories:
1.1 A degree in Computer Science, Computer Engineering, Information Technology, Information and Communication Technology, Electrical Engineering, Mathematics, or Physics.
1.2 A degree in another related field with at least 12 credits of computer related courses, and having at least 1 year of work experience in computing or IT development.
2.Applicants should have a cumulative GPA of not less than 2.5
3.Applicants should have an English Proficiency Examination score as required by the Faculty of Graduate Studies.
4.Applicants with qualifications other than 1 – 3 may be considered by the Program Director, and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.
แผน ข (วิทยานิพนธ์)
1.Applicants should hold a Bachelor’s degree with at least 6 credits of computer related courses from an institute accredited by the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation and have at least 2 years of work experience in computing or IT development.
2.Applicants should have a cumulative GPA of not less than 2.5
3.Applicants should have an English Proficiency Examination score as required by the Faculty of Graduate Studies.
4.Applicants with qualifications other than 1 – 3 may be considered by the Program Director, and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.
Go to website of the Faculty of Graduate Studies to submit an online application.
Register and log in to the online application system.
Complete the application form and submit related and supporting documents to the online application system.
กำหนดการรับสมัครปีการศึกษา 2566
กำหนดการ | รอบที่ 1 |
เปิดรับสมัคร | 1 ธันวาคม 2565 – 31 มกราคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบและสถานที่สอบ | 7 กุมภาพันธ์ 2566 |
สอบสัมภาษณ์ | 14 กุมภาพันธ์ 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา | 24 กุมภาพันธ์ 2566 |
รายงานตัวเข้าศึกษาและชำระค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษาใหม่ | 24 กุมภาพันธ์ – 2 มีนาคม 2566 |
เปิดภาคการศึกษาที่ 1 (ปีการศึกษา 2566) | สิงหาคม 2566 |
กำหนดการ | รอบที่ 2 |
เปิดรับสมัคร | 1 กุมภาพันธ์ – 31 มีนาคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบและสถานที่สอบ | 8 เมษายน 2566 |
สอบสัมภาษณ์ | 18 เมษายน 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา | 28 เมษายน 2566 |
รายงานตัวเข้าศึกษาและชำระค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษาใหม่ | 28 เมษายน – 4 พฤษภาคม 2566 |
เปิดภาคการศึกษาที่ 1 (ปีการศึกษา 2566) | สิงหาคม 2566 |
กำหนดการ | รอบที่ 3 |
เปิดรับสมัคร | 1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบและสถานที่สอบ | 23 พฤษภาคม 2566 |
สอบสัมภาษณ์ | 29 พฤษภาคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา | 8 มิถุนายน 2566 |
รายงานตัวเข้าศึกษาและชำระค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษาใหม่ | 8 – 13 มิถุนายน 2566 |
เปิดภาคการศึกษาที่ 1 (ปีการศึกษา 2566) | สิงหาคม 2566 |
กำหนดการ | ภาคปลาย |
เปิดรับสมัคร | 1 สิงหาคม –15 ตุลาคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบและสถานที่สอบ | 26 ตุลาคม 2566 |
สอบสัมภาษณ์ | 3 พฤศจิกายน 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา | 13 พฤศจิกายน 2566 |
รายงานตัวเข้าศึกษาและชำระค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษาใหม่ | 13 – 17 พฤศจิกายน 2566 |
เปิดภาคการศึกษาที่ 2 (ปีการศึกษา 2566) | มกราคม 2567 |
การติดต่อ
ผศ. ดร. บุญสิทธิ์ ยิ้มวาสนา
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล
999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
Tel: 66-2-441-0909
email: boonsit.yim@mahidol.ac.th
กำหนดการรับสมัครปีการศึกษา 2566
กำหนดการ | รอบที่ 1 |
เปิดรับสมัคร | 1 ธันวาคม 2565 – 31 มกราคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบและสถานที่สอบ | 7 กุมภาพันธ์ 2566 |
สอบสัมภาษณ์ | 14 กุมภาพันธ์ 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา | 24 กุมภาพันธ์ 2566 |
รายงานตัวเข้าศึกษาและชำระค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษาใหม่ | 24 กุมภาพันธ์ – 2 มีนาคม 2566 |
เปิดภาคการศึกษาที่ 1 (ปีการศึกษา 2566) | สิงหาคม 2566 |
กำหนดการ | รอบที่ 2 |
เปิดรับสมัคร | 1 กุมภาพันธ์ – 31 มีนาคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบและสถานที่สอบ | 8 เมษายน 2566 |
สอบสัมภาษณ์ | 18 เมษายน 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา | 28 เมษายน 2566 |
รายงานตัวเข้าศึกษาและชำระค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษาใหม่ | 28 เมษายน – 4 พฤษภาคม 2566 |
เปิดภาคการศึกษาที่ 1 (ปีการศึกษา 2566) | สิงหาคม 2566 |
กำหนดการ | รอบที่ 3 |
เปิดรับสมัคร | 1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบและสถานที่สอบ | 23 พฤษภาคม 2566 |
สอบสัมภาษณ์ | 29 พฤษภาคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา | 8 มิถุนายน 2566 |
รายงานตัวเข้าศึกษาและชำระค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษาใหม่ | 8 – 13 มิถุนายน 2566 |
เปิดภาคการศึกษาที่ 1 (ปีการศึกษา 2566) | สิงหาคม 2566 |
กำหนดการ | ภาคปลาย |
เปิดรับสมัคร | 1 สิงหาคม –15 ตุลาคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบและสถานที่สอบ | 26 ตุลาคม 2566 |
สอบสัมภาษณ์ | 3 พฤศจิกายน 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา | 13 พฤศจิกายน 2566 |
รายงานตัวเข้าศึกษาและชำระค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษาใหม่ | 13 – 17 พฤศจิกายน 2566 |
เปิดภาคการศึกษาที่ 2 (ปีการศึกษา 2566) | มกราคม 2567 |
ค่าเล่าเรียน
ปีการศึกษา |
ค่าธรรมเนียมการศึกษา |
ค่าใช้จ่าย (ตลอดหลักสูตร) |
|||
นักศึกษาต่างชาติ |
นักศึกษาไทย |
||||
บาท |
ดอลล่าร์สหรัฐฯ |
บาท |
ดอลล่าร์สหรัฐฯ |
||
2564 – 2566 |
Plan A (Thesis) แผน ก (วิทยานิพนธ์) |
489,000 |
14,900 |
299,000 |
9,100 |
Plan B (Thematic Paper) แผน ข (สารนิพนธ์) |
529,000 |
16,100 |
275,000 |
8,400 |
*อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
ทุนการศึกษา
1. Master-level scholarship is available on a case by case basis. Scholarship will be awarded to students who have good academic background, career experience, research experience, computer science skills, English skills, and health. Since the master-level scholarship requires recipients to work as teaching/lab assistant or programmer/system engineer during office hours for a certain period of time during study and after graduation, the recipient must be able to work during day time and after graduation at the Faculty of ICT. In accordance to tuition fee announcement, the scholarship may include one or more of the following items: tuition fee, equipment fee, research fee and monthly allowance.
2.Student exchange scholarship is awarded by the International Relation website. Mahidol University provides support for students seeking opportunity abroad for a period of time. Please see the website of Mahidol University International Relations division for more information (e.g. how to apply, amount of support and qualifications).
3.Partial research scholarship is awarded by the Faculty of Graduate Studies for foreign students. For more information, please visit the website of the Faculty of Graduate Studies .
Overview
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต การดำเนินธุรกิจ และแม้กระทั่งการดูแลตัวเอง ทุกวันนี้เราสามารถเพลิดเพลินไปกับ นวัตกรรมบนโทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ และการใช้โปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งนวัตกรรมเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นโดยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในหลายแขนง
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล (ICT Mahidol) เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เทคนิคคอมพิวเตอร์ขั้นสูง ซึ่งเป็นพื้นฐานของสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศและเชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ วิทยาศาสตร์ข้อมูล การบริหารเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความมั่นคงทางไซเบอร์ และกราฟิกคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นการพัฒนาซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ การจัดการฐานข้อมูลปัญญาประดิษฐ์ และวิทยาศาสตร์ข้อมูล โดยเป็นหลักสูตร 2 ปี ผู้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษาในหลักสูตรฯ จะต้องมีความรู้และทักษะด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องตามที่คณะฯ กำหนด
ปัจจุบันวิทยาการคอมพิวเตอร์และทักษะด้านไอทีเป็นสิ่งสำคัญสำหรับวัยทำงานในการขับเคลื่อนประเทศ ประเทศไทยได้ริเริ่มนโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยไปสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งต้องอาศัยความรู้และเครื่องจักรอัตโนมัติ ด้วยความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ สามารถช่วยให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายนั้นได้ หากคุณสนใจที่จะเป็นส่วนหนึ่งของความคิดริเริ่มนี้สำหรับอุตสาหกรรมและธุรกิจที่ทันสมัย หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์เหมาะสำหรับคุณ